AVPN Global Conference 2023 | 20 - 22 June 2023

Days
Hrs
Mins
Secs

3 กลยุทธ์สำหรับการวัดผลกระทบทางสังคมให้ประสบผลสำเร็จ

เมื่อปลายเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา เครือข่ายนักลงทุนเพื่อสังคมแห่งเอเชีย (Asian Venture Philanthropy Network: AVPN) ได้จัดการการอบรมการวัดผลกระทบทางสังคม โดยร่วมมือกับ Social Venture International (องค์กรวัดคุณค่าทางสังคม) และ Dasra (องค์กรการกุศลที่สร้างความเปลี่ยนแปลงทางสังคม) ที่เมืองเดลี ประเทศอินเดีย

การลงทุนเพื่อสังคมจะเป็นอนาคตของเกษตรกรรายย่อยในเอเชียได้หรือไม่

“มันเป็นคลื่นลูกใหญ่มาก พวกเขาเรียกมันว่าสึนามิ ผมไม่เคยเห็นอะไรแบบนี้มาก่อนในชีวิตของผม หมู่บ้านทั้งหมดของผมถูกมันกวาดไป ผมได้รับความช่วยเหลือขณะเดินทางไปในเมือง” ฉันจำคำพูดของชาวประมงวัย 65 ปีที่มาจากหมู่บ้านชายทะเลในเมืองนาเคอร์คอยล์(Nagercoil), รัฐทมิฬนาฑู (Tamil Nadu) หลังเหตุการณ์คลื่นยักษ์สึนามิในปี 2547 ฉันได้พบกับเรื่องราวโศกนาฏกรรมอีกมากมายในฐานะอาสาสมัครผู้ช่วยบรรเทาทุกข์ ฉันรู้สึกว่าช่วยอะไรไม่ได้นอกจากรวบรวมความกล้าหาญเพื่อปลอบประโลมผู้รอดชีวิต

การเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติและพลังของภาวะผู้นำในท้องถิ่น

“มันเป็นคลื่นลูกใหญ่มาก พวกเขาเรียกมันว่าสึนามิ ผมไม่เคยเห็นอะไรแบบนี้มาก่อนในชีวิตของผม หมู่บ้านทั้งหมดของผมถูกมันกวาดไป ผมได้รับความช่วยเหลือขณะเดินทางไปในเมือง” ฉันจำคำพูดของชาวประมงวัย 65 ปีที่มาจากหมู่บ้านชายทะเลในเมืองนาเคอร์คอยล์(Nagercoil), รัฐทมิฬนาฑู (Tamil Nadu) หลังเหตุการณ์คลื่นยักษ์สึนามิในปี 2547 ฉันได้พบกับเรื่องราวโศกนาฏกรรมอีกมากมายในฐานะอาสาสมัครผู้ช่วยบรรเทาทุกข์ ฉันรู้สึกว่าช่วยอะไรไม่ได้นอกจากรวบรวมความกล้าหาญเพื่อปลอบประโลมผู้รอดชีวิต

งแนวโน้มการให้การร่วมทุนและการลงทุนเพื่อสังคม ในยุโรป

30 ธันวาคม 2559 โดย อะเลซเซีย เจียนอนเชลลี่ เมื่อเดือนที่แล้ว สมาคมนักลงทุนเพื่อสังคมแห่งยุโรป(EVPA) ซึ่งเป็นองค์กรพี่น้องของเครือข่ายนักลงทุนเพื่อสังคมแห่งเอเชีย(AVPN) เปิดเผยข้อมูลจากการสำรวจในหัวข้อ “สถานะของการให้การร่วมทุน (venture philanthropy: VP) และการลงทุนเพื่อสังคม (VP/SI)ในยุโรป โดย EVPA ประจำปี 2558/2559” ซึ่งเป็นการสำรวจเพื่อวัดความเคลื่อนไหวในภาคการลงทุนเพื่อสังคมในยุโรป รายงานฉบับนี้ได้ให้ข้อมูลสำคัญในการกำหนดเกณฑ์อ้างอิง (benchmark) ขององค์กรต่างๆ และช่วยเหลือองค์กรที่สนใจสร้างผลกระทบทางสังคมเป็นอันดับแรกได้ตามทันองค์กรอื่น การสำรวจจัดทำในกลุ่มนักลงทุนเพื่อสังคมและผู้ให้ทุนที่อยู่ในยุโรป โดยร้อยละ 69 ต้องการผลตอบแทนด้านสังคมมากกว่าด้านการเงิน และร้อยละ 31 นั้นให้ความสำคัญกับผลตอบแทนด้านสังคมและด้านการเงินเท่าๆกัน เราได้เน้น 7 การค้นพบที่น่าสนใจและแนวโน้มของภาคการร่วมทุนและการลงทุนเพื่อสังคม ดังนี้ ทุกรูปภาพนั้นอ้างถึงปีงบประมาณ (FY) 2558 เว้นแต่จะกล่าวว่าเป็นอย่างอื่น 1. ภาคส่วนนี้ยังคงเติบโตต่อไปแต่จำนวนเงินลงทุนต่อปีโดยเฉลี่ยนั้นยังคงที่ ผู้ตอบแบบสอบถามได้ลงทุนไปด้วยจำนวนเงินมากกว่า 6.5 พันล้านยูโรตั้งแต่มีการเริ่มให้การร่วมทุนและลงทุนเพื่อสังคม (VP/SI) (เพิ่มขึ้น 30% เมื่อเทียบกับปีงบประมาณ 2013) โดยเฉลี่ยแล้ว บริษัทที่ให้สัมภาษณ์แบ่งสรรเงินจำนวน 7.8 ล้านยูโรให้กับการร่วมทุนหรือการลงทุนเพื่อสังคม (VP/SI) […]

นวัตกรรมสังคม: สิ่งที่เรียนรู้จากสิงคโปร์

4 มกราคม 2560 โดย โนออร์ ฮานิส ฮารุน สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติมาเลเซีย (Agensi Inovasi Malaysia: AIM) ได้จัดโครงการเสริมสร้างศักยภาพให้กับทีมนวัตกรรมสังคมของตน เพื่อเดินทางไปประเทศสิงคโปร์ตั้งแต่วันที่ 5 ถึงวันที่ 9 ธันวาคม 2559 โดยวัตถุประสงค์โดยรวมของโครงการเสริมสร้างศักยภาพนี้ คือเพื่อให้ประเทศมาเลเซีย 1.กระตุ้นให้เกิดความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนได้สำเร็จ 2.ริเริ่มรูปแบบการจัดหาเงินทุนทางสังคมที่แข็งแกร่ง 3.บำรุงและรักษาองค์กรที่เน้นผลประโยชน์ต่อสังคม (social purpose organisations: SPOs) ผ่านทางการกำกับดูแลเชิงกลยุทธ์ของความก้าวหน้าทางสังคม 4.ขับเคลื่อนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาและเพิ่มอุปสงค์และอุปทานของภาคสังคม โดยเป้าหมายเหล่านี้สามารถทำให้สำเร็จได้โดยปฏิบัติตามโมเดลที่ประสบความสำเร็จในประเทศ สิงคโปร์ จากคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ และจากการเรียนรู้ผ่านการลงมือทำ (Photo description: ชาซาน่าและคิมเบอลีย์ (Shazana and Kimberly) ซึ่งเป็นสมาชิกในทีมของเรากำลังดูกล่องอักษรเบรลล์ B5(Braille Box B5) ซึ่งเป็นต้นแบบเครื่องพิมพ์สำหรับผู้พิการ (PWD) ระหว่างการเยี่ยมชมนิทรรศการ Access Ability Design for Dignity จัดโดยสถานทูตสวีเดนและสถาบันสวีเดนในประเทศสิงคโปร์ นิทรรศการนี้จัดขึ้นที่ศูนย์การออกแบบแห่งชาติสิงคโปร์) เราได้เข้าเยี่ยมชมองค์กรที่โดดเด่นที่สุดในสิงคโปร์จำนวนหนึ่ง […]

ประเทศจีนวิสาหกิจเพื่อสังคมใบรับรอง

แม้จะมีกิจการเพื่อสังคมออกมาให้เห็นน้อย แต่จีนได้มอบเกียรติบัตรรับรองกิจการเพื่อสังคมในปี 2558 ในงานแฟร์การกุศลแห่งประเทศจีน (China Charity Fair: CCF) ซึ่งเป็นงานการกุศลระดับประเทศที่ใหญ่ที่สุดในประเทศที่จัดขึ้นทุกปี ใบประกาศนี้เป็นการรับรองอย่างไม่เป็นทางการที่ริเริ่มและสนับสนุนโดยองค์กรยักษ์ใหญ่ของจีน ได้แก่ 2 สถาบันการศึกษาอย่าง มหาวิทยาลัยปักกิ่ง (Peking University) และสถาบันการกุศลระดับโลกประจำชาติจีน (China Global Philanthropy Institute) รวมถึงศูนย์วิจัยกิจการเพื่อสังคม มูลนิธินาราดา (Narada Foundation) และ Mshan ซึ่งเป็นคณะผู้จัดงานแฟร์ครั้งนี้